วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

ชุดที่ 026 การก่อการร้าย

ชุดที่ 025 การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก 2

ชุดที่ 024 การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก

ชุดที่ 023 ลัทธิชาตินิยม

ชุดที่ 022 อิทธิพลของนักปราชญ์ค่อการปฎิวัติฝรั่งเศษ

ชุดที่ 021 การปฏิวัติฝรั่งเศส

ชุดที่ 020 กฏบัตรแมกนา คาร์ตา

วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

หลักสูตรประวัติศาสตร์ ม.2 สาระเพิ่ม





หลักสูตร
พุทธศักราช 2551
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
ภาคเรียนที่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม











ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์  ภาคเรียนที่ 1  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

มาตรฐาน ส 4.1  เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
                            สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
1. ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน  ทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
1.     วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะ ต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง  สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
2.     ตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือ ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้องถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน
สมัยอยุธยา ( เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 )
2. วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

1.     ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ในสมัยอยุธยา และธนบุรี( เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) เช่น ข้อความบางตอน ในพระราชพงศาวดารอยุธยา /จดหมายเหตุชาวต่างชาติ
2.     ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐาน ที่แสดงเหตุการณ์สำคัญในสมัยอยุธยา และธนบุรี
3.     การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4.     ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์
3. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ






มาตรฐาน ส 4.2  เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
                            และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
                            และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดยสังเขป
2.     พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
2.     อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน





โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง
วิชา ส22102 ประวัติศาสตร์      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2      
ภาคเรียนที่ 1     เวลา  20  ชั่วโมง     จำนวน  0.5  หน่วยกิต  
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.1  เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ 
8
1. ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
1.     วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ อย่างง่าย   เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง   สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
2.     ตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย ที่อยู่ในท้องถิ่นของตนเองหรือหลักฐานสมัยอยุธยา (เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3)
3.     ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี (เชื่อมโยงกับมฐ. ส 4.3) เช่น ข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดารอยุธยา จดหมายเหตุชาวต่างชาติ
4.     การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
5.     ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดง เหตุการณ์สำคัญ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี
6.     ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลและ การตีความทางประวัติศาสตร์
2. วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
3. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่น่าเชื่อถือ





ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.2  เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง  ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
12
1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาค เอเชีย
1.     ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการ โดยสังเขป)
2.     พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
2. ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมตะวันออกและแหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
2.     อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน



โครงสร้างรายวิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   
 ภาคเรียนที่ เวลา  20  ชั่วโมง  จำนวน  0.5  หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  
ลำดับที่
ชื่อหน่วย
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
1
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
4.1 
ม.2/1,2/2,2/3

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
วิธีการประเมิน ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์               
ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์
10
35
2
พัฒนาการเอเชีย
4.2 
ม.2/1,2/2

พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ สังคมเศรษฐกิจ การเมืองในภูมิภาคเอเชีย
ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย               
10
35
สอบระหว่างภาคเรียน
-
10
สอบปลายภาคเรียน
-
20
รวมตลอดปี
-
100





หลักสูตร
พุทธศักราช 2551
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิชา ส 22104 ประวัติศาสตร์
ภาคเรียนที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม










ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิชา ส22104 ประวัติศาสตร์  
ภาคเรียนที่ 2  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

มาตรฐาน ส 4.3  เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
                         ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
1. วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ
1.     การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
2.     ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา
3.     พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1  และการกู้เอกราช
5.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกำลังคน และศิลปวัฒนธรรม
6.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
7.     การกู้เอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี
8.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
9.     วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงาน ของบุคคลสำคัญของไทยและต่างชาติ ที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
3. ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย สมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา












โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง 
วิชา ส22104 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2      
ภาคเรียนที่ 2 เวลา  20  ชั่วโมง จำนวน  0.5  หน่วยกิต  
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.3  เข้าใจความเป็นมาของชนชาติไทย  วัฒนธรรม  ภูมิปัญญาไทย  มีความรัก ความภาคภูมิใจ  และธำรงความเป็นไทย
20
1. วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่างๆ
1.     การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
2.     ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา
3.     พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการกู้เอกราช
5.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกำลังคน และศิลปวัฒนธรรม
6.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 การกู้เอกราช   และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี
7.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
8.     วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสำคัญของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เช่น
 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
 - พระสุริโยทัย
 - พระนเรศวรมหาราช
 - พระนารายณ์มหาราช
 - สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 - พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก(ด้วง)
 - สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถ 
(บุญมา)
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร อยุธยา
3. ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา





โครงสร้างรายวิชา ส22104 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   
 ภาคเรียนที่ เวลา  20  ชั่วโมง จำนวน  0.5  หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  
ลำดับที่

ชื่อหน่วย
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
1
อาณาจักรไทย
4.3 
ม.2/1,2/2,2/3
การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ
การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 และ และการกู้เอกราช
10
40
2
ภูมิปัญญาไทย 
4.3 
ม.2/3
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
5
15
3
บรรพบุรุษไทย 
4.3 
ม.2/3
วีรกรรมบรรพบุรุษไทย ผลงานบุคคลสำคัญของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย
5
15
สอบระหว่างภาคเรียน
-
10
สอบปลายภาคเรียน
-
20
รวมตลอดปี
-
100






ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา
ประวัติศาสตร์ ส 22102 (สาระเพิ่ม)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอมที่ 1
ข้อที่ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา คะแนนที่ประเมิน
คะแนนก่อนกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบหลังกลางภาค คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
1 ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ 5 5 6 16
2 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 5 5 5 6 21
3 เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ 5 5 5 6 21
4 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ของภูมิภาคเอเชีย
5 5 5 6 21
5 ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย 5 6 11
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1 รักชาติ ศาสตน์กษัตริย์ 2 2
2 ซื่อสัตย์ สุจริต 2 2
3 มีวินัย 1 1
4 ใฝ่เรียนรู้ 1 1
5 อยู่อย่างพอเพียง 1 1
6 มุ่งมั่นในการทำงาน 1 1
7 รักความเป็นไทย 1 1
8 มีจิตสาธารณะ 1 1
รวม 20 20 20 10 30 100
ลงชื่อ................................................
(นายชาญวิทย์  ปรีชาพาณิชพัฒนา)
ผู้สอน
ลงชื่อ................................................ผู้สอน
(นางวิบูลลักษณ์  นามบุญลือ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม






ประวัติศาสตร์ ส 22104 (สาระเพิ่ม)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอมที่ 2
ข้อที่ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา คะแนนที่ประเมิน
คะแนนก่อนกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบหลังกลางภาค คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
1 วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ 5 5 5 15
2 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา 5 5 5 15
3 ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา 5 5 5 5 20
4 วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่างๆ 5 5 5 5 20
5 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา 5 5 10
6 ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
และอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
5 5 10
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1 รักชาติ ศาสตน์กษัตริย์ 2 2
2 ซื่อสัตย์ สุจริต 2 2
3 มีวินัย 1 1
4 ใฝ่เรียนรู้ 1 1
5 อยู่อย่างพอเพียง 1 1
6 มุ่งมั่นในการทำงาน 1 1
7 รักความเป็นไทย 1 1
8 มีจิตสาธารณะ 1 1
รวม 20 20 20 10 30 100
ลงชื่อ................................................
(นายชาญวิทย์  ปรีชาพาณิชพัฒนา)
ผู้สอน
ลงชื่อ................................................ผู้สอน
(นางวิบูลลักษณ์  นามบุญลือ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม


แนวคิดและหลักการ
การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21


  • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวคิดที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ในปัจจุบัน ที่เป็นผลกระทบมาจากความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมหาศาล
  • ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต้องกลับมาทบทวนพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนในฐานะเป็นพลเมืองของชาติ ให้มีความพร้อมสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรม
  • สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
  • โดยมีการกำหนดสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีความเป็นไทย ขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ในการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
  • โดยมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ในการสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพ ทักษะ และความรู้พื้นฐานในการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 นั้น
  • จะต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ ผ่านโครงงานหรือโครงการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น การเรียนรู้ในรูปของการค้นคว้าด้วยตนเอง
  • ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมถึงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน
  • ผู้สอน ได้เล็งเห็นความสำคัญของนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียน รองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียนและยกระดับศักยภาพ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล จึงได้จัดทำ Blog Sites หรับใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน
  • เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน โดยดำเนินการจัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21ตามหลักการสำคัญต่อไปนี้
    • 1. มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 2. มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ทักษะชีวิต และทักษะด้านการจัดการข้อมูล สารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Information Technology)
    • 3. มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล (Data) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สามารถวิเคราะห์ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และสามารถแปลงข้อมูลเป็นความรู้ (Knowledge) เพื่อนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 4. มุ่งสร้างเสริมนิสัยใฝ่เรียนรู้ และฝึกฝนทักษะวิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน (Learning skill) ให้สามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลความรู้ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล สามารถนำมาใช้ในการเรียน การทำงาน และการ ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ