วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

หลักสูตรประวัติศาสตร์ ม.2 สาระเพิ่ม





หลักสูตร
พุทธศักราช 2551
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
ภาคเรียนที่
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม











ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์  ภาคเรียนที่ 1  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

มาตรฐาน ส 4.1  เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
                            สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
1. ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน  ทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
1.     วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะ ต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง  สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
2.     ตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือ ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้องถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน
สมัยอยุธยา ( เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 )
2. วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

1.     ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ในสมัยอยุธยา และธนบุรี( เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) เช่น ข้อความบางตอน ในพระราชพงศาวดารอยุธยา /จดหมายเหตุชาวต่างชาติ
2.     ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐาน ที่แสดงเหตุการณ์สำคัญในสมัยอยุธยา และธนบุรี
3.     การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
4.     ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์
3. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ






มาตรฐาน ส 4.2  เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์
                            และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ
                            และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดยสังเขป
2.     พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
2.     อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน





โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง
วิชา ส22102 ประวัติศาสตร์      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2      
ภาคเรียนที่ 1     เวลา  20  ชั่วโมง     จำนวน  0.5  หน่วยกิต  
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.1  เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ 
8
1. ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
1.     วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ อย่างง่าย   เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง   สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น
2.     ตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย ที่อยู่ในท้องถิ่นของตนเองหรือหลักฐานสมัยอยุธยา (เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3)
3.     ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี (เชื่อมโยงกับมฐ. ส 4.3) เช่น ข้อความบางตอนในพระราชพงศาวดารอยุธยา จดหมายเหตุชาวต่างชาติ
4.     การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
5.     ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดง เหตุการณ์สำคัญ ในสมัยอยุธยาและธนบุรี
6.     ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลและ การตีความทางประวัติศาสตร์
2. วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
3. เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่น่าเชื่อถือ





ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.2  เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง  ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
12
1. อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของภูมิภาค เอเชีย
1.     ที่ตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการ โดยสังเขป)
2.     พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
2. ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
1.     ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมตะวันออกและแหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย
2.     อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน



โครงสร้างรายวิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   
 ภาคเรียนที่ เวลา  20  ชั่วโมง  จำนวน  0.5  หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  
ลำดับที่
ชื่อหน่วย
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
1
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
4.1 
ม.2/1,2/2,2/3

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
วิธีการประเมิน ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์               
ความสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์
10
35
2
พัฒนาการเอเชีย
4.2 
ม.2/1,2/2

พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ สังคมเศรษฐกิจ การเมืองในภูมิภาคเอเชีย
ที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชีย               
10
35
สอบระหว่างภาคเรียน
-
10
สอบปลายภาคเรียน
-
20
รวมตลอดปี
-
100





หลักสูตร
พุทธศักราช 2551
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิชา ส 22104 ประวัติศาสตร์
ภาคเรียนที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม










ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
วิชา ส22104 ประวัติศาสตร์  
ภาคเรียนที่ 2  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

มาตรฐาน ส 4.3  เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
                         ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2
1. วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ
1.     การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
2.     ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา
3.     พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1  และการกู้เอกราช
5.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกำลังคน และศิลปวัฒนธรรม
6.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2
7.     การกู้เอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี
8.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
9.     วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงาน ของบุคคลสำคัญของไทยและต่างชาติ ที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
3. ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย สมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา












โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง 
วิชา ส22104 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2      
ภาคเรียนที่ 2 เวลา  20  ชั่วโมง จำนวน  0.5  หน่วยกิต  
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
มาตรฐาน ส 4.3  เข้าใจความเป็นมาของชนชาติไทย  วัฒนธรรม  ภูมิปัญญาไทย  มีความรัก ความภาคภูมิใจ  และธำรงความเป็นไทย
20
1. วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่างๆ
1.     การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
2.     ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง ของอาณาจักรอยุธยา
3.     พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 และการกู้เอกราช
5.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกำลังคน และศิลปวัฒนธรรม
6.     การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 การกู้เอกราช   และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี
7.     ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
8.     วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสำคัญของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เช่น
 - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
 - พระสุริโยทัย
 - พระนเรศวรมหาราช
 - พระนารายณ์มหาราช
 - สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 - พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก(ด้วง)
 - สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาถ 
(บุญมา)
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร อยุธยา
3. ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา





โครงสร้างรายวิชา ส22104 ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   
 ภาคเรียนที่ เวลา  20  ชั่วโมง จำนวน  0.5  หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  
ลำดับที่

ชื่อหน่วย
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
1
อาณาจักรไทย
4.3 
ม.2/1,2/2,2/3
การสถาปนาอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ
การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 และ และการกู้เอกราช
10
40
2
ภูมิปัญญาไทย 
4.3 
ม.2/3
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
5
15
3
บรรพบุรุษไทย 
4.3 
ม.2/3
วีรกรรมบรรพบุรุษไทย ผลงานบุคคลสำคัญของไทยที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย
5
15
สอบระหว่างภาคเรียน
-
10
สอบปลายภาคเรียน
-
20
รวมตลอดปี
-
100






ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา
ประวัติศาสตร์ ส 22102 (สาระเพิ่ม)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอมที่ 1
ข้อที่ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา คะแนนที่ประเมิน
คะแนนก่อนกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบหลังกลางภาค คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
1 ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ 5 5 6 16
2 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 5 5 5 6 21
3 เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ 5 5 5 6 21
4 อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ของภูมิภาคเอเชีย
5 5 5 6 21
5 ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย 5 6 11
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1 รักชาติ ศาสตน์กษัตริย์ 2 2
2 ซื่อสัตย์ สุจริต 2 2
3 มีวินัย 1 1
4 ใฝ่เรียนรู้ 1 1
5 อยู่อย่างพอเพียง 1 1
6 มุ่งมั่นในการทำงาน 1 1
7 รักความเป็นไทย 1 1
8 มีจิตสาธารณะ 1 1
รวม 20 20 20 10 30 100
ลงชื่อ................................................
(นายชาญวิทย์  ปรีชาพาณิชพัฒนา)
ผู้สอน
ลงชื่อ................................................ผู้สอน
(นางวิบูลลักษณ์  นามบุญลือ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม






ประวัติศาสตร์ ส 22104 (สาระเพิ่ม)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอมที่ 2
ข้อที่ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา คะแนนที่ประเมิน
คะแนนก่อนกลางภาค คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบหลังกลางภาค คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนทั้งหมด
1 วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ 5 5 5 15
2 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา 5 5 5 15
3 ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพล ของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา 5 5 5 5 20
4 วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่างๆ 5 5 5 5 20
5 วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา 5 5 10
6 ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
และอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
5 5 10
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1 รักชาติ ศาสตน์กษัตริย์ 2 2
2 ซื่อสัตย์ สุจริต 2 2
3 มีวินัย 1 1
4 ใฝ่เรียนรู้ 1 1
5 อยู่อย่างพอเพียง 1 1
6 มุ่งมั่นในการทำงาน 1 1
7 รักความเป็นไทย 1 1
8 มีจิตสาธารณะ 1 1
รวม 20 20 20 10 30 100
ลงชื่อ................................................
(นายชาญวิทย์  ปรีชาพาณิชพัฒนา)
ผู้สอน
ลงชื่อ................................................ผู้สอน
(นางวิบูลลักษณ์  นามบุญลือ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม


1 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณมากค่ะ นำไปทำหลักสูตรใช้สอนได้เป็นอย่างดี


    ตอบลบ

แนวคิดและหลักการ
การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21


  • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวคิดที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ในปัจจุบัน ที่เป็นผลกระทบมาจากความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมหาศาล
  • ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต้องกลับมาทบทวนพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนในฐานะเป็นพลเมืองของชาติ ให้มีความพร้อมสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรม
  • สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
  • โดยมีการกำหนดสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีความเป็นไทย ขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ในการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
  • โดยมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ในการสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพ ทักษะ และความรู้พื้นฐานในการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 นั้น
  • จะต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ ผ่านโครงงานหรือโครงการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น การเรียนรู้ในรูปของการค้นคว้าด้วยตนเอง
  • ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมถึงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน
  • ผู้สอน ได้เล็งเห็นความสำคัญของนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียน รองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียนและยกระดับศักยภาพ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล จึงได้จัดทำ Blog Sites หรับใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน
  • เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน โดยดำเนินการจัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21ตามหลักการสำคัญต่อไปนี้
    • 1. มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 2. มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ทักษะชีวิต และทักษะด้านการจัดการข้อมูล สารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Information Technology)
    • 3. มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล (Data) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สามารถวิเคราะห์ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และสามารถแปลงข้อมูลเป็นความรู้ (Knowledge) เพื่อนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 4. มุ่งสร้างเสริมนิสัยใฝ่เรียนรู้ และฝึกฝนทักษะวิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน (Learning skill) ให้สามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลความรู้ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล สามารถนำมาใช้ในการเรียน การทำงาน และการ ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ